Chonticha
Keeratiwitayakorn M.2/7 No.28
Occupations Teacher
Class.
2/7 No.28
หน้าที่ของ ครู(The roles of the teacher ) ไว้ดังนี้
1. ครูเป็นนักผู้วิเคราะห์( Needs analyst) ครูจะต้องทราบความต้องการของนักเรียนแต่ละคน(students’
individual needs ) และสามามรถนำผลมาใช้ในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตร(สงสารคุณครูบ้านเราเป็นนักวิเคราะห์จริง
บางคนรู้รายละเอียดนักเรียนดีมาก โดยเฉพาะคุณครูในชนบท แต่ปัญหาคือ
คุณครูถูกใช้ทำงานสารพัด สอนนักเรียนทั้งวัน งานธุรการ งานของอำเภอ งานของจังหวัด
งานหน่วยเลือกตั้งฯลฯ ทำให้ครูไม่มีเวลาวางแผนและพัฒนาหลักสูตร)
2. ครูเป็นนักพัฒนาหลักสูตร(Curriculum developer) ครูจะต้องพัฒนาหลักสูตรที่ตนเองสอนอยู่เสมอ(ไม่ใช่รุ่นพี่จบไป 10 ปี มาเยี่ยมรุ่นน้องที่มหาวิทยาลัย ทำไมน้องยังเรียนเอกสารอันเดียวกับรุ่นพี่)
3. นักพัฒนาสื่อการเรียนการสอน( Material developer) ครูควรมีสื่อการเรียนการสอน( ไม่ใช่ย่างเอกสารในเครื่องฉายข้ามศีรษะตลอดทั้งเทอม)
4. ครูเป็นที่ปรึกษา( Counselor) ครูควรเป็นที่ปรึกษาให้แก่นักเรียนทั้งเรื่องการเรียนและเรื่องส่วนตัว (อาจารย์หมอประเวศเล่าว่ามีอาจารย์ท่านหนึ่งรีบเข้ามาสอน หมดคาบก็รีบสะบัดก้นออกจากห้องไป…สำนวนอาจารย์หมอครับ)
5. ครูเป็นพี่เลี้ยง(Mentor) ให้แก่คุณครูที่มีประสบการณ์ในการสอนน้อย(สมันก่อนมีคุณครูมาบรรจุที่โรงเรียนจะมีคำสั่งตั้งคุณครูพี่เลี้ยง ครูน้องเลี้ยงของผม จบปริญญาโท( Master degree)ไปหลายคนเหลือพี่เลี้ยง…เฝ้าโรงเรียน… เดี๋ยวนี้มีครูพี่เลี้ยงไหมครับ..ใครทราบช่วยบอกที)
6. ครูต้องทำงานเป็นทีม( Team member) คุณครูจะต้องช่วยเหลือกันทำงาน การทำงานเป็นทีมจะทำให้งานสำเร็จได้มากกว่าทำงานคนเดียว( สมัยผู้เขียนสอนอยู่ในระดับมัธยมศึกษาเรามีทีมวิชาการที่เข้มแข็งมาก งานวิจัยของโรงเรียนติดระดับประเทศ เป็นโรงเรียนที่มีงานวิจัยมากที่สุดในจังหวัด เพราะคุณครูทุกคนตั้งใจทำงานช่วยเหลือกันเป็นอย่างดี)
7. ครูเป็นนักวิจัย( Researcher) ครูควรทำงานวิจัยพัฒนาการเรียนการสอนของตนเอง( ผู้เขียนคิดว่า งานวิจัยในชั้นเรียน(Action research) จะช่วยให้คุณครูเป็นนักวิจัยที่ดี เพราะครูอยู่กับนักเรียนตลอดเวลา ทราบปัญหาในชั้นเรียน)
8. ครูมืออาชีพ(Professional) ครูควรพัฒนาตนเอง ควรเข้ารับการอบรม สัมมนา สิ่งสำคัญคือคุณครูควรอ่านหนังสือและติดตามเหตุการณ์ต่างๆอยู่เสมอ( ในหลวงของเราท่านตรัสว่าท่านทำอาชีพคือ ทำราชการ ลองเข้าไปอ่านที่อาจารย์พินิจที่ อาชีพของในหลวง ) คุณหมอประเวศ วะสีกล่าวว่า“ครูเป็นเมล
2. ครูเป็นนักพัฒนาหลักสูตร(Curriculum developer) ครูจะต้องพัฒนาหลักสูตรที่ตนเองสอนอยู่เสมอ(ไม่ใช่รุ่นพี่จบไป 10 ปี มาเยี่ยมรุ่นน้องที่มหาวิทยาลัย ทำไมน้องยังเรียนเอกสารอันเดียวกับรุ่นพี่)
3. นักพัฒนาสื่อการเรียนการสอน( Material developer) ครูควรมีสื่อการเรียนการสอน( ไม่ใช่ย่างเอกสารในเครื่องฉายข้ามศีรษะตลอดทั้งเทอม)
4. ครูเป็นที่ปรึกษา( Counselor) ครูควรเป็นที่ปรึกษาให้แก่นักเรียนทั้งเรื่องการเรียนและเรื่องส่วนตัว (อาจารย์หมอประเวศเล่าว่ามีอาจารย์ท่านหนึ่งรีบเข้ามาสอน หมดคาบก็รีบสะบัดก้นออกจากห้องไป…สำนวนอาจารย์หมอครับ)
5. ครูเป็นพี่เลี้ยง(Mentor) ให้แก่คุณครูที่มีประสบการณ์ในการสอนน้อย(สมันก่อนมีคุณครูมาบรรจุที่โรงเรียนจะมีคำสั่งตั้งคุณครูพี่เลี้ยง ครูน้องเลี้ยงของผม จบปริญญาโท( Master degree)ไปหลายคนเหลือพี่เลี้ยง…เฝ้าโรงเรียน… เดี๋ยวนี้มีครูพี่เลี้ยงไหมครับ..ใครทราบช่วยบอกที)
6. ครูต้องทำงานเป็นทีม( Team member) คุณครูจะต้องช่วยเหลือกันทำงาน การทำงานเป็นทีมจะทำให้งานสำเร็จได้มากกว่าทำงานคนเดียว( สมัยผู้เขียนสอนอยู่ในระดับมัธยมศึกษาเรามีทีมวิชาการที่เข้มแข็งมาก งานวิจัยของโรงเรียนติดระดับประเทศ เป็นโรงเรียนที่มีงานวิจัยมากที่สุดในจังหวัด เพราะคุณครูทุกคนตั้งใจทำงานช่วยเหลือกันเป็นอย่างดี)
7. ครูเป็นนักวิจัย( Researcher) ครูควรทำงานวิจัยพัฒนาการเรียนการสอนของตนเอง( ผู้เขียนคิดว่า งานวิจัยในชั้นเรียน(Action research) จะช่วยให้คุณครูเป็นนักวิจัยที่ดี เพราะครูอยู่กับนักเรียนตลอดเวลา ทราบปัญหาในชั้นเรียน)
8. ครูมืออาชีพ(Professional) ครูควรพัฒนาตนเอง ควรเข้ารับการอบรม สัมมนา สิ่งสำคัญคือคุณครูควรอ่านหนังสือและติดตามเหตุการณ์ต่างๆอยู่เสมอ( ในหลวงของเราท่านตรัสว่าท่านทำอาชีพคือ ทำราชการ ลองเข้าไปอ่านที่อาจารย์พินิจที่ อาชีพของในหลวง ) คุณหมอประเวศ วะสีกล่าวว่า“ครูเป็นเมล
พันธุ์แห่งความดีงาม”
.Then as a teacher. Not only have technical
knowledge in order to teach students only. The teacher will also need to assist
students to develop the intellectual, social, emotional, and personality
so.Students will have to have faith and trust in teachers. Ready to meet the
teacher in question. In addition, teachers must be a great original students.
If you are asking students from elementary school. Students to the
university.Most students will have at least one teacher or the original models,
and students to accept the values and ideals of the
teacher. To the mainstream of life. Influence of the teacher, the students will
take the original track for life
.It is said that I like artists who sculpt.
Because all the teachers involved in the personality development of the
students. But the teacher did not like the image that I saw the success of each
piece. May be set to be viewed.The teacher will have to wait until students
return to tell the teacher that the teacher has helped him anyway. Or influence
his life, however. And sometimes it was a waste of time because although some
students will miss a good teacher.It makes people feel like a boat hire teachers
who are responsible for sending the ferry only. Which is the negative attitude
towards the teaching profession has contributed to some people choosing
teaching as a career last .Is that a good teacher must be a spiritual
understanding of the principles taught by the teaching theory, then also not
enough. Teachers will need to know about psychology.Having said that, as a
teacher, assistant teacher must know the psychology psychology as a trend Kow
family.2544: 4-5 [1] discussed the following: 1. Help teachers get to know the
character. (Characteristics) of the students taught by a teacher must know the
physical, intellectual, emotional and social development of the collective
personality 2.Help teachers understand the development of personality of
students, as some self-concept (self concept) that happen. And learn about the
role of teachers in order to help students to have a good self-concept and how
accurate 3.Help teachers to understand the differences between
individuals. To help students individually to develop the potential of each
individual 4.Help teachers learn how to age appropriate classroom
environment. And the development of students. To motivate the students are
interested and want to learn 5.Help teachers know the variables. That influence
student learning, such as motivation, self-concept and the expectations of
teachers towards students 6.Help teachers to prepare teaching plans and
learning. To effective teaching can help students to learn the potential of
each individual. Taking into account the following: 6.1 The purpose of the
lesson by the teacher chooses a character and individual differences of
students to teach. The objective is to make students understand what teachers
expect students to know what.At the end of the lesson, students will be able to
do? .6.2 allows teachers to select appropriate teaching and teaching
methods. With regard to the character of the students and teaching. 6 and
the learning process of students.3 enables teachers to assess not only the
teacher has taught the same lesson. But to evaluate a student before teaching.
During teaching. To know how students are progressing or have trouble learning
what 7.Help teachers to know the principles and theories of learning
psychologists. Has proved to be a good example to learn from observation or
imitation. (Observational learning or modeling) 8.Help teachers get to
teach principles and methods of effective teaching. And behavior teachers are
teaching effectively using questions such as What are the reinforcement. And making
their prototype 9.Help teachers to know that students with good academic
performance is not due. Level of intelligence alone. But there are other
factors such as motivation (motivation) or attitude.10th.Parents and teachers
to help create the atmosphere of the classroom. To facilitate learning and
enhance the personality of the students. Teachers and students love. Mutual
trust and students are helping each other.I came to school .Because
education plays a crucial role in helping young people develop both intelligence.
And personality. To help young people succeed in life. Every country has sought
to promote education quality standards of excellence.
ครูเป็นอาชีพที่มีเกียรติ
ครูเป็นผู้ให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนทุกๆคนรียงความเรื่อง
ฉันจะประสบความสำเร็จในอาชีพครูได้อย่างไร
การเป็นครูนั้น
ไม่เพียงแต่จะต้องมีความรู้ทางวิชาการเพื่อจะสอนนักเรียนเท่านั้น
แต่ครูยังจะต้องเป็นผู้ช่วยนักเรียนให้พัฒนาทั้งทางด้านสติปัญญา บุคลิกภาพ อารมณ์
และสังคมด้วยดังนั้น ครูต้องเป็นผู้ที่ให้ความอบอุ่นแก่นักเรียน
เพื่อนักเรียนจะได้มีความเชื่อและไว้ใจครู พร้อมที่จะเข้าพบครูเวลาที่มีปัญหา
นอกจากนี้ครูจะต้องเป็นต้นฉบับที่ดีแก่นักเรียน
ถ้าหากจะถามนักเรียนตั้งแต่ชั้นประถม จนถึงนิสิตนักศึกษาขั้นมหาวิทยาลัย
ว่ามีใครบ้างในชีวิตของนักเรียนที่นักเรียนยึดถือเป็นต้นฉบับ
นักเรียนส่วนมากจะมีครูอย่างน้อยหนึ่งคนยึดเป็นต้นฉบับหรือตัวแบบและนักเรียนจะยอมรับค่านิยมและอุดมการณ์ของครู
เพื่อเป็นหลักของชีวิต อิทธิพลของครูที่นักเรียนยึดเป็นต้นฉบับจะติดตามไปตลอดชีวิตมีผู้กล่าวว่า
ครูเปรียบเสมือนศิลปินที่ปั้นรูป
เพราะครูทุกคนมีส่วนในการพัฒนาบุคลิกภาพของนักเรียน
แต่ผลงานของครูไม่เหมือนกับปฏิมากรที่พองานแต่ละชิ้นสำเร็จก็เห็นผลงาน
อาจจะตั้งให้ชมได้ หรือถ้าไม่ชอบอาจจะแก้ไขเพิ่มเติมได้
ส่วนครูนั้นจะต้องรอจนนักเรียนกลับมาบอกครูว่าครูได้ช่วยเขาอย่างไร
หรือมีอิทธิพลต่อชีวิตเขาอย่างไร
และบางครั้งการรอก็เป็นการเสียเวลาเปล่าเพราะแม้ว่านักเรียนบางคนจะคิดถึงความดีของครู
แต่ก็คิดอยู่ในใจไม่แสดงออก
จึงทำให้คนทั่วไปรู้สึกว่าอาชีพครูเหมือนเรือจ้างที่มีหน้าที่ส่งคนข้ามฟากเท่านั้น
ซึ่งเป็นเครื่องชี้ถึงทัศนคติทางลบที่มีต่ออาชีพครูจึงมีส่วนทำให้คนบางคนตัดสินใจเลือกอาชีพครูเป็นอาชีพสุดท้ายจะเห็นว่าการเป็นครูที่ดีนั้นจะต้องเป็นด้วยจิตวิญาณมีความเข้าใจหลักการสอนกระบวนการสอนตามหลักวิชาการแล้วยังไม่พอ
ครูจะต้องรู้เกี่ยวกับจิตวิทยา เพราะครูทุกคนมีวิถีชีวิตอยู่กับคนแทบจะตลอดเวลาจึงจำเป็นจะต้องรู้ชีวิตจิตใจของมนุษย์ว่าเขาเหล่านั้นมีความต้องการอะไร
ดังมีกล่าวว่าคนเป็นครูจะต้องรู้จิตวิทยาเพราะว่าจิตวิทยาช่วยครูได้ดังที่สุรางค์
โค้วตระกูล. 2544 : 4-5 [1] กล่าวไว้ดังต่อไปนี้1. ช่วยครูให้รู้จักลักษณะนิสัย (Characteristics)
ของนักเรียนที่ครูต้องสอนโดยทราบหลักพัฒนาการทั้งทางร่างกาย
สติปัญญา อารมณ์ สังคม และบุคลิกภาพเป็นส่วนรวม2. ช่วยให้ครูมีความเข้าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการของนักเรียน
เช่น อัตมโนทัศน์ (Self concept) ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร และเรียนรู้ถึงบทบาทของครูในการที่จะช่วยนักเรียนให้มี
อัตมโนทัศน์ ที่ดีและถูกต้องได้อย่างไร3. ช่วยครูให้มีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล
เพื่อจะได้ช่วยนักเรียนเป็นรายบุคคลให้พัฒนาตามศักยภาพของแต่ละบุคคล4. ช่วยให้ครูรู้วิธีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก่วัย
และขั้นพัฒนาการของนักเรียน เพื่อจูงใจให้นักเรียนมีความสนใจและอยากจะเรียนรู้5. ช่วยให้ครูทราบถึงตัวแปรต่างๆ
ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น แรงจูงใจ อัตมโนทัศน์
และการตั้งความคาดหวังของครูที่มีต่อนักเรียน6. ช่วยครูในการเตรียมการสอนวางแผนการเรียน
เพื่อทำให้การสอนมีประสิทธิภาพสามารถช่วยให้นักเรียนทุกคนเรียนรู้ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
โดยคำนึงหัวข้อต่อไปนี้6.1 ช่วยครูเลือกวัตถุประสงค์ของบทเรียนโดยคำนึงถึงลักษณะนิสัยและความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียนที่จะต้องสอน
และสามารถที่จะเขียนวัตถุประสงค์ให้นักเรียนเข้าใจว่าสิ่งที่ครูคาดหวังให้นักเรียนรู้มีอะไรบ้าง
โดยถือว่าวัตถุประสงค์ของบทเรียนคือสิ่งที่จะช่วยให้นักเรียนทราบว่า
เมื่อจบบทเรียนแล้วนักเรียนจะสามารถทำอะไรได้บ้าง6.2 ช่วยครูในการเลือกหลักการสอนและวิธีสอนที่เหมาะสม
โดยคำนึงถึงลักษณะนิสัยของนักเรียนและวิชาที่สอน และกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน6.3 ช่วยครูในการประเมินไม่เพียงแต่เฉพาะเวลาครูได้สอนจนจบบทเรียนเท่า
นั้นแต่ใช้ประเมินความพร้อมของนักเรียนก่อนสอน ในระหว่างที่ทำการสอน
เพื่อจะทราบว่านักเรียนมีความก้าวหน้าหรือมีปัญหาในการเรียนรู้อะไรบ้าง7. ช่วยครูให้ทราบหลักการและทฤษฎีของการเรียนรู้ที่นักจิตวิทยา
ได้พิสูจน์แล้วว่าได้ผลดี เช่น การเรียนรู้จากการสังเกตหรือการเลียนแบบ (Observational learning หรือ Modeling)8. ช่วยครูให้ทราบถึงหลักการสอนและวิธีสอนที่มีประสิทธิภาพ
รวมทั้งพฤติกรรมของครูที่มีการสอนอย่างมีประสิทธิภาพว่ามีอะไรบ้าง เช่น
การใช้คำถาม การให้แรงเสริม และการทำตนเป็นต้นแบบ9. ช่วยครูให้ทราบว่านักเรียนที่มีผลการเรียนดีไม่ได้เป็นเพราะ
ระดับเชาวน์ปัญญาเพียงอย่างเดียว แต่มีองค์ประกอบอื่นๆ เช่น แรงจูงใจ (Motivation) ทัศนคติหรือ อัตมโนทัศน์ของนักเรียนและความคาดหวังของครูที่มีต่อตัวนักเรียน10. ช่วยครูในการปกครองชั้นและการสร้างบรรยากาศของห้องเรียน
ให้เอื้อต่อการเรียนรู้และเสริมสร้างบุคลิกภาพของนักเรียน ครูและนักเรียนมีความรัก
และไว้วางใจซึ่งกันและกัน นักเรียน ต่างก็ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทำให้ห้องเรียนเป็นสถานที่ที่ทุกคนมีความสุขและนักเรียนรักโรงเรียน
อยากมาโรงเรียนเนื่องจากการศึกษามีบทบาทสำคัญในการช่วยให้เยาวชนพัฒนาการทั้งทางด้านเชาวน์ปัญญา
และทางบุคลิกภาพ เพื่อช่วยให้เยาวชนมีความสำเร็จในชีวิต
ทุกประเทศจึงหาทางส่งเสริมการศึกษา ให้มีคุณภาพ มีมาตรฐานความเป็นเลิศ
ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาการศึกษาจึงมีสำคัญในการช่วยทั้งครูและนักการศึกษาผู้มีความรับผิดชอบในการปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการสอน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น